ราชันไร้มงกุฎ CROENLESS BRAINCHILD
นาฬิกาต้นแบบรุ่นที่ 1 และ 2 ผลงานยุค 1920 ที่สร้างสรรค์โดย John Harwood ช่วงความทรงจำที่ขาดวิ่นสะท้อนเหตุการณ์กลางทศวรรษ 1920 เมื่ออุตสหกรรมนาฬิกาสวิสถูกลบคม หลังจากปล่อยให้กลไกออโตเมติกสำหรับนาฬิกาข้อมูลถูกพัฒนาขึ้นโดยคนนอกอย่างช่างนาฬิกาอังกฤษนาม John Harwood (จอห์น ฮาร์วูด) ผู้ส่งผลงานนาฬิกาข้อมือกลไกอัตโนมัติออกสู่ตลาดเป็นครั้งแรก Harwood ได้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์จากเมื่อครั้งเป็นทหารร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 และประสบการณ์ในการซ่อมนาฬิกากลไกบนเกาะแมนในทะเลไอริช โดยสังเกตพบว่า ฝุ่นละอองและความชื้นสามารถแทรกตัวเข้าไปในตัวเรือนที่ปิดตายผ่านทองช่องเสียบก้านเม็ดมะยม และไปทำปฏิกิริยากับโลหะจนเกิดสนิม นั่นกระตุ้นให้เขาคิดว่าคงจะดีหากไม่ต้องดึงเม็ดมะยมออกมาเพื่อไขลานนาฬิกา และนำไปสู่การประดิษฐ์กลไกลานอัตโนมัติ
ในปี 1992 นักประดิษฐ์ม้อนอกสายตาผู้นี้เริ่มลงมือสร้างต้นแบบซึ่งติดตั้งตุ้มเหวี่ยงที่แกว่ง 2 ทิศทางลงบนเครื่องไขลาน ขนาด 13 ลิญจ์ส ที่ผลิตในสวิส ผลที่ปรากฏว่าตัวเครื่องใหญ่เทอะทะเกินไป
และผลิตพลังงานน้อยเกินไป ความล้มเหลวนี้ทำให้เขาเป็นพื้นฐานของสปริงรูปแบบต่างๆ ในเวลาต่อมา กระนั้นโลกยังต้องอดทนรอคอยนาฬิกากลไกออโตเมติกไร้เม็ดมะยมของ Harwood ไปอีกระยะหนึ่ง
เพราะบริษัทผู้ผลิตนาฬิกาสวิสที่มีความเสี่ยงสูงเกินไป
ฝันของ Harwood เกือบสลาย แต่ที่สุดเขาก็ได้รับการอนุมัติเงินทุนจากธนาคารในอังกฤษ ซึ่งมากพอให้เขาก่อตั้ง 'Harwood Selfwinding Watch Co.' (ฮาร์วูด เซลฟ์ไวด์ดิง วอทช์ โค) ซื้อเครื่องจักร และจ่ายเงินเดือนพนักงาน แม้จะได้พันธมิตรใหม่อย่าง 'Anton Schild SA' (แอนทอน ชิลด์ แอสอา) มาเป็นผู้ผลิตเครื่องฐานให้ทว่าปัญหาทางเทคนิคที่ซ่อนตัวอยู่อย่างเงียบๆ ภายใต้ความสำเร็จก็เผยโฉมออกมาป่วนสายการผลิตนาฬิกาล็อตแรกเพราะระหว่างที่พัฒนาต้นแบบอยู่นั้น ตัวผู้สร้างเองไม่ได้นึกถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องฐานในเชิงปริมาณ และแล้วปัญหาก็ถูกขจัดไป ถึงเวลาเปิดตัวนวัตกรรมกลไกออโตเมติกหมายเลข 1 ในปี 1929 นาฬิกาที่บรรจุเครื่องฐาน Harwood Cal.648 ได้รับการตอบรับจากตลาดและเรียกความสนใจจาก สื่อมวลชลไดมากพอสมควร นอกจากนี้ยังได้ Fortis (ฟอร์ติส) และ Blancpain (บลองแปง) เข้าเสริมทัพ ทว่าธุรกิจที่กำลังไปได้สวยนี้ต้องผจญกับมรสุมเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ที่ตกต่ำเป็นประวัติการณ์ โดยตั้งเค้าในปี 1929 ก่อนที่จะทวีความรุนแรงโหมกระหน่ำให้บริษัทแม่และสาขาทั้งที่ปปารีสและอเมริกาต้องทยอยปิดตัวลงในปี 1931 เหลือเพียงผลงานให้โลกจดจำชื่อของ John Harwood ซึ่งถอนตัวออกจากวงการไปใช้ชีวิตอย่างเงียบๆ ก่อนจะลาโลกนี้ไป 1965
ในปี 1992 นักประดิษฐ์ม้อนอกสายตาผู้นี้เริ่มลงมือสร้างต้นแบบซึ่งติดตั้งตุ้มเหวี่ยงที่แกว่ง 2 ทิศทางลงบนเครื่องไขลาน ขนาด 13 ลิญจ์ส ที่ผลิตในสวิส ผลที่ปรากฏว่าตัวเครื่องใหญ่เทอะทะเกินไป
และผลิตพลังงานน้อยเกินไป ความล้มเหลวนี้ทำให้เขาเป็นพื้นฐานของสปริงรูปแบบต่างๆ ในเวลาต่อมา กระนั้นโลกยังต้องอดทนรอคอยนาฬิกากลไกออโตเมติกไร้เม็ดมะยมของ Harwood ไปอีกระยะหนึ่ง
เพราะบริษัทผู้ผลิตนาฬิกาสวิสที่มีความเสี่ยงสูงเกินไป
ฝันของ Harwood เกือบสลาย แต่ที่สุดเขาก็ได้รับการอนุมัติเงินทุนจากธนาคารในอังกฤษ ซึ่งมากพอให้เขาก่อตั้ง 'Harwood Selfwinding Watch Co.' (ฮาร์วูด เซลฟ์ไวด์ดิง วอทช์ โค) ซื้อเครื่องจักร และจ่ายเงินเดือนพนักงาน แม้จะได้พันธมิตรใหม่อย่าง 'Anton Schild SA' (แอนทอน ชิลด์ แอสอา) มาเป็นผู้ผลิตเครื่องฐานให้ทว่าปัญหาทางเทคนิคที่ซ่อนตัวอยู่อย่างเงียบๆ ภายใต้ความสำเร็จก็เผยโฉมออกมาป่วนสายการผลิตนาฬิกาล็อตแรกเพราะระหว่างที่พัฒนาต้นแบบอยู่นั้น ตัวผู้สร้างเองไม่ได้นึกถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องฐานในเชิงปริมาณ และแล้วปัญหาก็ถูกขจัดไป ถึงเวลาเปิดตัวนวัตกรรมกลไกออโตเมติกหมายเลข 1 ในปี 1929 นาฬิกาที่บรรจุเครื่องฐาน Harwood Cal.648 ได้รับการตอบรับจากตลาดและเรียกความสนใจจาก สื่อมวลชลไดมากพอสมควร นอกจากนี้ยังได้ Fortis (ฟอร์ติส) และ Blancpain (บลองแปง) เข้าเสริมทัพ ทว่าธุรกิจที่กำลังไปได้สวยนี้ต้องผจญกับมรสุมเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ที่ตกต่ำเป็นประวัติการณ์ โดยตั้งเค้าในปี 1929 ก่อนที่จะทวีความรุนแรงโหมกระหน่ำให้บริษัทแม่และสาขาทั้งที่ปปารีสและอเมริกาต้องทยอยปิดตัวลงในปี 1931 เหลือเพียงผลงานให้โลกจดจำชื่อของ John Harwood ซึ่งถอนตัวออกจากวงการไปใช้ชีวิตอย่างเงียบๆ ก่อนจะลาโลกนี้ไป 1965
FROM : watch world-wide vol.05 no.51 may 2009
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น